บทความ

Home>บทความ

SMAC: กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอิทธิพลต่อธุรกิจ (ตอนที่ 1)

โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง[1] รองศาสตราจารย์ศรัณย์ ชูเกียรติ[2] SMAC เป็นคำย่อของกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผู้เชี่ยวชาญในสายงานด้านธุรกิจที่ปรึกษาของบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด คาดการณ์ว่าจะมีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคมและธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรมนับตั้งแต่วันนี้และต่อไปอีก 5 ปีข้างหน้า ประกอบไปด้วย (1) [...]

2016-10-19T17:57:37+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

การด้อยค่าของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

การด้อยค่าของสินทรัพย์: กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ข้อกำหนดเกี่ยวกับการวัดมูลค่ารายการของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ตามย่อหน้า 136 ของมาตรฐานการายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ระบุให้กิจการต้องรับรู้ผลขาดทุนจากการปรับลดมูลค่าของรายการที่ดินอาคารและอุปกรณ์ในงบกำไรขาดทุนหากมีข้อบ่งชี้ว่ารายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์มีมูลค่าลดลงอย่างถาวร ภายใต้เงื่อนไขว่ากิจการสามารถประมาณราคาขายได้อย่างน่าเชื่อถือโดยที่ไม่มีต้นทุนสูงมากจนเกินไป (ไม่จำเป็นต้องเป็นราคาที่ประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระ) และราคาขายหักด้วยต้นทุนในการขายรายการที่ดินอาคารและอุปกรณ์ต่ำกว่าราคาตามบัญชีของรายการที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ในวันที่ [...]

2016-10-19T18:00:56+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

การวัดมูลค่าผลประโยชน์พนักงานสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (ภาค 2)

การบัญชีสำหรับผลประโยชน์พนักงาน: กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (ภาค 2) ฉลองสงกรานต์กันอีกครั้งกับเรื่องผลประโยชน์พนักงานสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ที่สภาวิชาชีพบัญชีได้จัดทำตัวอย่างประกอบความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดมูลค่าและการรับรู้รายการดังกล่าวเพื่อให้กิจการสามารถประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงานได้อย่างน่าเชื่อถือโดยไม่มีต้นทุนสูงเกินไป คำชี้แจงในข้อ 6 ของเอกสารดังกล่าวระบุให้กิจการสามารถประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงานโดยไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงตัวแปรดังต่อไปนี้ (ดูข้อ 6 ในเอกสารตัวอย่างประกอบความเข้าใจ) 1) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต [...]

2016-10-19T18:01:40+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

การคำนวณผลประโยชน์พนักงานสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

การบัญชีสำหรับผลประโยชน์พนักงาน: กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ เขย่าวงการวิชาชีพการบัญชีของประเทศไปในปี 2554 กับมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์พนักงาน ที่กำหนดให้กิจการต้องวัดมูลค่าผลตอบแทนที่ให้พนักงานในระยะยาวตามวิธีทางคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial method) และรับรู้ภาระหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน สภาวิชาชีพบัญชีผ่อนผันให้กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะสามารถใช้วิธีอื่นในการวัดมูลค่าภาระหนี้สินดังกล่าวด้วยจำนวนเงินที่สะท้อนประมาณการหนี้สินที่ดีที่สุดของรายจ่ายที่ต้องนำไปจ่ายชำระภาระผูกพันในปัจจุบัน ณ [...]

2016-10-19T18:03:24+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

หนี้สูญรับคืน

หนี้สูญรับคืนตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ: รายได้หรือส่วนกลับค่าใช้จ่าย ตามที่สภาวิชาชีพบัญชี ได้ออกร่างข้อกำหนดเพิ่มเติม เรื่อง ข้อกำหนดเพิ่มเติมสาหรับการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ และประกาศผ่านเว็บไซต์เมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๕๕ สาระสำคัญประการหนึ่งของประเด็นการแก้ไข ได้แก่เรื่อง ลูกหนี้ [...]

2016-10-19T18:04:45+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

การเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

การเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน บ่อยครั้งที่เราจะได้ยินคำถามว่าทำไมคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชีต้องออกข้อบังคับให้กิจการเปิดเผยข้อมูลจำนวนมาก อาจจะมากจนถึงระดับที่ก่อให้เกิด Information overload แล้วหรือไม่การเปิดเผยข้อมูลจำนวนมากนั้นเป็นภาระให้แก่ผู้จัดทำบัญชีและก่อให้เกิดต้นทุนแก่กิจการ มีใครจะอ่านข้อมูลเหล่านั้นแล้วใช้ข้อมูลนั้นจริงหรือ หากข้อมูลที่กิจการรายงานในงบการเงินแล้วให้ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินที่แท้จริงออกมาได้อย่างเที่ยงตรง (Precise) แล้ว คงไม่มีความจำเป็นต้องให้ข้อมูลส่วนเพิ่มแต่อย่างใด แต่การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าตามหลักการบัญชีอาจไม่ได้สะท้อนฐานะการเงินและผลการดำเนินงานที่แท้จริง [...]

2016-10-19T18:06:28+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

ปัญหาจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของรายการบัญชีเพียงบางส่วน

ปัญหาจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของรายการบัญชีเพียงบางส่วน ในปัจจุบัน มาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศไทยมีการกำหนดให้วัดมูลค่าของสินทรัพย์หลายรายการด้วยมูลค่ายุติธรรม เช่น เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดที่จัดประเภทเป็นกลุ่มของสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อค้าหรือเผื่อขาย เป็นต้น ขณะที่การวัดมูลค่าของหนี้สินยังตั้งอยู่บนพื้นฐานของราคาทุน (เงินกู้ยืม) หรือราคาทุนตัดจำหน่าย (เช่น การบัญชีสำหรับหุ้นกู้) การรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการวัดมูลค่าก่อให้เกิดการจับคู่กันไม่ได้ทางการบัญชีระหว่างสินทรัพย์และหนี้สิน ที่ส่งผลให้เกิดความผันผวนต่อฐานะการเงินของกิจการ ตัวอย่างของรายการที่จับคู่กันไม่ได้ทางการบัญชี [...]

2016-10-19T18:07:20+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีกับการวางแผนภาษี

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีกับการวางแผนภาษี มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้ กำหนดให้กิจการต้องรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีทุกรายการ โดยรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเท่ากับจำนวนที่เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากิจการจะมีกำไรทางภาษีเพียงพอที่จะนำผลแตกต่างชั่วคราวนั้นมาใช้หักภาษีได้ (TAS 12.24) การกำหนดมูลค่าของสินทรัพย์(หรือหนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นไปตามจำนวนเงินที่คาดว่าจะใช้หักภาษีได้ (หรือที่จะต้องชำระ) จากหน่วยงานจัดเก็บภาษี โดยใช้อัตราภาษีสำหรับงวดที่กิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี [...]

2016-10-19T18:08:21+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

การแสดงรายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

การแสดงรายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ กำหนดให้กิจการรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีทุกรายการ ได้เพียงเท่ากับจำนวนเงินที่เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากิจการจะมีกำไรทางภาษีเพียงพอที่จะนำผลแตกต่างชั่วคราวนั้นมาใช้หักภาษีได้ (TAS 12.24) ข้อกำหนดดังกล่าวบังคับให้กิจการทำประมาณการจำนวนเงินของผลต่างชั่วคราวที่จะใช้หักภาษีได้จริง และหากมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีหรือกฎหมายภาษีอากร การประเมินประโยชน์ที่จะได้รับจากสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีใหม่ [...]

2016-10-19T18:09:25+07:00ตุลาคม 19th, 2016|

ข้อกำหนดให้กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะสามารถเลือกปฎิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 และ 19 ทำไปเพื่อใคร

ข้อกำหนดให้กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะสามารถเลือกปฎิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 และ 19 ทำไปเพื่อใคร ตามที่สภาวิชาชีพบัญชีจัดทำมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ และกำหนดให้เริ่มบังคับใช้ในปี พ.ศ.2554 เป็นต้นไปนั้น มาตรฐานดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดแนวปฏิบัติทางบัญชีที่ไม่ซับซ้อนและสร้างภาระให้แก่กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะจำนวนมาก ซึ่งมีขนาดเล็กและอาจไม่มีทรัพยากรเพียงพอที่จะนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศไทย (เต็มรูปแบบมาใช้) แม้มาตรฐานดังกล่าวจะได้กำหนดวัตถุประสงค์ข้างต้นไว้อย่างชัดเจน แต่ยังระบุข้อยกเว้นให้กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะสามารถเลือกใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ [...]

2016-10-19T18:10:16+07:00ตุลาคม 19th, 2016|
Go to Top